分享

【泰国4.0】倾听病房正负压“呼吸”,共筑病患生命守护者!

 爱吹口哨的男孩 2021-03-28

倾听病房正负压“呼吸”,

共筑病患生命守护者!

译:史琳丽

审:包涵

终审:郝钰琪

(4.0Hi-Fun专栏译员)

编者按:

医疗卫生服务在我们的生活里面非常的重要,随着社科技的发展,泰国已有超过66家医院通过了JCI(国际医疗卫生机构认证联合委员会)标准认证。新冠肺炎疫情下,医院要保持自身原有的JCI水平需要做些什么呢?下面跟小编一起来看看吧!文中有原文录音哦,跟小编一起来学习吧!

录音

中文主播:凌思玲

在这个公共卫生服务至关重要、不可或缺的时代,泰国已有超过66家医院通过了JCI(国际医疗卫生机构认证联合委员会)标准认证。即便如此,若想持平或超过其标准仍是各大医院必须面临的一大挑战。

此时对于一家新医院来说更是困难重重。因为在新冠肺炎疫情下,医院不仅需保持自身原有的JCI水平或略高于此,更需要为使用公共卫生服务的患者树立信心。这正是一众医学专家聚身于梅德公园国际医院,以解决患者护理问题、治疗疑难杂症为目标,不断引进技术创新的原因。同时为确保医患安全,医院安装了PM2.5过滤系统,以保持高于外界空气6倍的室内正压。

梅德公园国际医院传染病学助理教授蒙德表示,整幢医院大楼的建设必须以患者利益为先,同时院内医护及工作人员的安全也要得到保障。因此我们需要室内正压(即室内气压高于室外),以防止外部病原体进入医院。

有一种系统可以将建筑物内的湿度控制在60%以下。泰国的空气湿度通常为75%-85%,受季风气候影响时空气湿度指数将更高,可能导致各种医疗设备受损,院内易产生霉菌因子,从而对病患看护(特别是免疫系统较弱的患者)造成威胁。由此一来湿度的控制必不可少,而通过网络进行实时监控则可使湿度值始终保持在标准范围之内。

 “此时新医院必须秉持长远的目光,因为当下不仅形势更加严峻,风险也在随之升高。因此在重重阻碍面前,我们必须努力在提升患者安全方面进行探索与投资,不断研究创新,为院内的医患创造最好的条件。”蒙德教授说。

许多研究成果皆表明,耐药菌和超级细菌常常潜伏在最难清理到的“患者床”周围,即便使用最好的设备,仍然会有病菌残留。梅德公园国际医院为此专门设立病床清洁室,对病床进行集体消毒灭菌。医学发现证实,上一位患者所携带的病毒,往往会传染给下一位睡同样病床的患者。因此院方必须重点关注,确保每位患者使用的医疗设备无菌无毒。

其次还需注意预防负压室患者残留的病菌体传播。负压室必须设置内外双送风口,负压室的压差(负压)标准不小于2.5 Pa,大多医院的压差为5Pa, 而梅德公园国际医院的压差则设置为7Pa,以便迅速排出病菌体。

同时应肩负环保责任。带有病原体的空气由排风口排出,在排向外部空气前应经过紫外线杀菌,以确保医院内外人员的健康安全。为免疫力低下、容易体内感染的人群设立“特殊重症监护室”,即需要一个特定区域内包含四个单位正负气压值的特殊气压室。其优点是可以有效防止病菌扩散到ICU的其他区域,同时避免患者感染新病毒。

建立设备俱全、医护齐备的 “VIP病房”,患者无需移动,亲属便能够近距离照顾病患。该病房配备有国外创新产品——动力空气净化呼吸器(PAPR)。该产品可以根据国际标准过滤病毒,提供洁净空气,可为照顾重症病患的工作人员提供防护。

除此之外,这里的ICU病房拥有超过138张病床,4间负压室,并已将其扩容至原标准的2倍。新冠疫情来临前,普通医院都将病房扩容了6倍以抵御疫情,新冠期间更是将其调整为普通房间的12倍。而梅德公园国际医院则扩容了15-20倍,以确保空气流通效果更为良好。

肾内科医生西拉博士补充说,重症监护病房中的肾透析使用的是血液透析纯水设备。因为我们相信使用纯水进行血液透析,虽投资巨大但能高度确保患者生命安全。院内护士必须拥有至少15年的透析经验,且所有医生都需具备相关海外学习经历。

 “最重要的还是心理疗愈,平稳好患者与家属的心态。因为大家都了解,ICU中的患者多伴有意识障碍。但请相信我们已深知躯体疼痛及精神焦虑治疗的重要性,更能帮助重症患者脱离危险,转向康复。”西拉博士如是说。

看完了中文版的,下面一起来学习一下泰语的吧!

ยกระดับมาตรฐานการแพทย์

 ดูแล 'ผู้ป่วยวิกฤติ'

录音

泰文主播:杜鑫

ปัจจุบันโรงพยาบาลในประเทศไทยได้รับรองมาตรฐาน JCI (Joint Commission International) กว่า 66 แห่ง ความยากในยุค ที่บริการสาธารณสุขเป็นที่ต้องการและมีความสำคัญ จึงกลายเป็นความท้าทายของแต่ละ รพ. ที่ต้องรักษามาตรฐานให้คงที่หรือดียิ่งขึ้น

ขณะเดียวกันถือเป็นโจทย์ยากมากขึ้นของรพ. ที่เปิดใหม่ในช่วงเวลานี้ เพราะในยุคโควิด-19 ไม่ใช่เพียงการรักษามาตรฐาน หรือ เพิ่มมาตรฐานให้สูงขึ้นเท่านั้น แต่ยังต้องสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ที่มาใช้บริการ เป็นสาเหตุให้ รพ.เมดพาร์ค ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของทีมแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญ ที่มีเป้าหมายในการแก้ปัญหาการดูแลคนไข้ และดูแลโรคซับซ้อน นำนวัตกรรมเทคโนโลยีมาใช้ พร้อมกับดูแลบุคลากรให้ปลอดภัย ตั้งแต่ในอาคารสร้างแรงดันอากาศภายในเป็นบวก 6 เท่าของบรรยากาศภายนอก มีระบบฟิลเตอร์กรองอากาศ PM2.5 

ผศ.นพ.มนต์เดช สุขปราณี อายุรศาสตร์โรคติดเชื้อ โรงพยาบาลเมดพาร์ค  กล่าวว่า การก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลทั้งหลัง ต้องมองไปข้างหน้าด้วยการยึดเอาประโยชน์ของคนไข้เป็นหลัก และความปลอดภัยของคนทำงานทั้งแพทย์ และบุคลากร ภายในอาคาร จึงต้องทำให้มีแรงดันเป็นบวก เพื่อป้องกันเชื้อโรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกเข้าสู่อาคาร

มีระบบควบคุมความชื้นภายในตัวอาคารให้ต่ำกว่า 60% เพราะประเทศไทยมีความชื้นตลอดเวลา 75 – 85% ยิ่งหากอยู่ในช่วงมรสุมจะทำให้ความชื้นสูง นำมาซึ่งปัญหาความเสื่อมของอุปกรณ์ต่างๆ มีความเสี่ยงเกิดเชื้อราใน รพ. และเสี่ยงต่อการดูแลผู้ป่วย โดยเฉพาะคนไข้ที่ภูมิต้านทานอ่อนแอ การควบคุมความชื้นจึงสำคัญ ซึ่งสามารถมอนิเตอร์ได้ทางอินเทอร์เน็ตแบบเรียลไทม์ เพื่อให้ตัวเลขอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตลอดเวลา

“การสร้างโรงพยายาบาลขึ้นมาใหม่ในยุคนี้ ต้องมองไปข้างหน้า เพราะโจทย์ยากกว่าเดิม แต่ก็จะเสี่ยงมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น เมื่อโจทย์ยากกว่าเดิม จึงต้องพยายามค้นหา ลงทุน ในสิ่งที่จะทำให้เกิดความปลอดภัยให้กับคนไข้ ค้นคว้านวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างสรรค์ที่ดีที่สุดให้กับคนไข้ รวมทั้งแพทย์และบุคลากรที่ทำงานในโรงพยาบาลแห่งนี้ ”ผศ.นพ. มนต์เดช กล่าว

มีการวิเคราะห์วิจัยมากมายว่า เชื้อดื้อยา เชื้อร้ายแรง มักหลบซ่อนอยู่บริเวณ “เตียงผู้ป่วย” ซึ่งเป็นบริเวณที่ทำความสะอาดยาก แม้จะทำด้วยอุปกรณ์ที่ดีที่สุดเชื้อก็ยังหลงเหลืออยู่ โรงพยาบาลแห่งนี้จึงสร้างห้องล้างทำความสะอาดเตียง สามารถเข็นเตียงเข้าฆ่าเชื้อป้องกันเชื้อหลบซ่อน เพราะ มีหลักฐานทางการแพทย์ว่าผู้ป่วยที่มานอนเตียงถัดจากคนก่อน มักจะติดเชื้อของคนที่แล้วเข้าไปด้วย จึงเป็นจุดที่ต้องให้ความสำคัญ ว่าอุปกรณ์ที่ใช้กับคนไข้คนถัดไปต้องไม่มีเชื้อ

และอีกจุดที่ต้องให้ความสำคัญคือ การป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อ ของผู้ป่วย ห้องความดันลบ จึงต้องสร้างทางเข้าทั้งภายในตัวอาคาร และ ภายนอกอาคาร โดยห้องแรงดันลบมีค่าสูงกว่ามาตรฐานซึ่งอยู่ที่ -2.5 พาสคัล รพ.หลายแห่งทำอยู่ที่ -5 พาสคัล แต่ที่นี่ อยู่ที่ - 7 พาสคัล เพื่อให้ดูดเอาเชื้อออกไปอย่างรวดเร็ว

รวมถึง การรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม โดยอากาศที่ปนเปื้อนเชื้อจะถูกดูดออกไปผ่านการกรองอากาศ ฆ่าเชื้อด้วยยูวี ก่อนออกสู่ภายนอก เรียกว่ามีความปลอดภัยทั้งคนในอาคารและรอบๆ รพ. มี “ห้องผู้ป่วยหนักพิเศษ” สำหรับผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ แต่มีการติดเชื้อเกิดขึ้นในร่างกาย ซึ่งต้องการห้องที่มีแรงดันอากาศพิเศษ คือ มีทั้งแรงดันบวก และ แรงดันลบ อยู่ในบริเวณเดียวกัน ทั้งหมด 4 ยูนิต ข้อดีคือ ป้องกันไม่ให้เชื้อแพร่กระจายไปสู่ส่วนอื่นๆ ของไอซียู ขณะเดียวกันก็ไม่ต้องการให้ผู้ป่วยได้รับเชื้อใหม่เช่นกัน

พัฒนา “ห้องวีไอพี” พร้อมอุปกรณ์ และเจ้าหน้าที่ดูแลผู้ป่วยโดยไม่ต้องย้ายผู้ป่วย ทำให้ญาติสามารถดูแลอย่างใกล้ชิด นำชุด PAPR (Power Air Purifying Respiratory) ชุดป้องกันที่จะป้อนอากาศสะอาดปราศจากเชื้อมาตรฐานสากล เป็นนวัตกรรมจากต่างประเทศ เพื่อนำมาใช้ในการป้องกันเจ้าหน้าที่ ที่ดูแลผู้ป่วยหนัก

ที่สำคัญมี 'หอผู้ป่วยวิกฤติ' มีห้องไอซียูทั้งสิ้นกว่า 138 เตียง ห้องความดันลบ 4 ห้อง และปรับไว้ 2 เท่าของมาตรฐาน จากเดิม ก่อนช่วงโควิด-19 รพ.ทั่วไปปรับไว้ที่ 6 เท่าของปริมาตรห้อง พอโควิด-19 มีการปรับขึ้นมา 12 เท่าของปริมาตรห้อง แต่ที่นี่ปรับไว้ที่ 15-20 เท่าของปริมาตรห้อง ทำให้การหมุนเวียนอากาศปลอดภัยยิ่งขึ้น

“นพ. สิร สุภาพ” อายุรศาสตร์โรคไต กล่าวเพิ่มเติมว่า การฟอกเลือดในไอซียูใช้เครื่องกรองน้ำระดับห้องฟอกเลือดมาใช้ในไอซียู เพราะเชื่อว่าการฟอกเลือดด้วยน้ำสะอาดมากทำให้ผู้ป่วยปลอดภัยสูงแม้จะลงทุนสูง พยาบาลต้องมีประสบการณ์การฟอกเลือดอย่างน้อย 15 ปี และแพทย์ทั้งหมดเรียนต่อเฉพาะทางจากต่างประเทศ

“สิ่งสำคัญคือการรักษาทางจิตวิญญาณ ดูแลจิตใจทั้งผู้ป่วยและญาติ เพราะคนทั่วไปเข้าใจว่าคนที่ป่วยเข้าไอซียู ไม่มีการโต้ตอบ  แต่เชื่อว่า การที่เราเห็นความสำคัญในการดูแลเรื่องความปวด ความเครียดในร่างกาย ทำให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นจากภาวะวิกฤติได้ง่ายขึ้น” นพ. สิร กล่าว

原文链接https://www./news/detail/906915

单词

单词主播:佘晓倩

 

    本站是提供个人知识管理的网络存储空间,所有内容均由用户发布,不代表本站观点。请注意甄别内容中的联系方式、诱导购买等信息,谨防诈骗。如发现有害或侵权内容,请点击一键举报。
    转藏 分享 献花(0

    0条评论

    发表

    请遵守用户 评论公约

    类似文章 更多